แนวคิดการจัดตั้งเครือข่ายทดสอบและติดตาม AI ทางการแพทย์

เครื่องมือ AI ทางการแพทย์ต่างๆ เริ่มมีการนำมาใช้ในหลาย โรงพยาบาล กันแล้ว เช่น AI ทาง X-ray, คัดกรองโรคตาผู้ป่วยเบาหวาน ฯลฯ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงาน พยายามออก มาตรฐานและข้อกำหนด ต่างๆ ออกมา แต่หลายครั้ง มักไม่ได้การันตีว่า ระบบนั้นจะสามารถใช้ได้จริงในประเทศไทย จึงมีแนวคิดที่จะสร้างเครือข่าย ศูนย์ทดสอบ AI เพื่อทดสอบ AI ก่อนใช้งาน และ ติดตามผลหลังใช้งานจริง อย่างในรูป จะเห็นว่าแนวทางนี้ ไม่ได้ทดสอบในห้อง Lab แล้วปล่อยออกมา แต่จะเป็นเครือข่าย ความร่วมมือระหว่างหลายๆ สถานพยาบาล ในการทดสอบ แลกเปลี่ยนผลการทดสอบ และติดตามผลจากการใช้จริง ซึ่งจะทำให้มีข้อมูลที่หลากหลาย … Continue reading แนวคิดการจัดตั้งเครือข่ายทดสอบและติดตาม AI ทางการแพทย์

มีการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ที่ใช้ AI กันมากขนาดไหนแล้ว ? (US AI Insurance Claim)

มีการเบิกจ่าย ค่ารักษาพยาบาล ที่ใช้ AI กันมากขนาดไหนแล้ว ? จากข้อมูลการเบิกจ่ายของ US 2018-2023 จะพบว่า การเบิกจ่าย มีแนวโน้มมากขึ้นเรื่อยๆ โดย AI ส่วนโรคหัวใจ (Coronary Artery disease) จะมากที่สุด และตามมาด้วย AI ตรวจเบาหวานขึ้นตา (Diabetic Retinopathy) ซึ่งจะต่างจากที่เราเข้าใจกันว่า เบาหวานขึ้นตาใช้เยอะที่สุด จากภาพจะพบว่าการเบิกจ่าย AI แทบทั้งหมดมาจาก 2 ตัวนี้ก็จริง แต่กำลังมี AI ตัวอื่นเพิ่มขึ้นมา เช่น โรคตับ หรือไข้มันในเส้นเลือดหัวใจ กว่า 50% ของ … Continue reading มีการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ที่ใช้ AI กันมากขนาดไหนแล้ว ? (US AI Insurance Claim)

COVID-19 Progress/Policy update: Maldives, Hawaii

<Update นโยบาย COVID19 น่าสนใจ 25/10/2020> Maldives ผมพึ่ง post update ของประเทศนี้ไปก็จริง แต่มีการเคลื่อนไหวอย่างคึกคักในช่วงนี้ โดยจำนวนนักท่องเทียว /วัน เพิ่มจาก 628 คน/วัน ใน post ที่แล้ว เป็น > 1000 ราย/ วัน แล้ว ด้วยจำนวนวันเข้าพักเฉลี่ยจาก 8 วันในปี 2019 เป็น > 20 วัน ในตอนนี้ ตัวเลขนี้ยังคงเพิ่มขึ้นได้อีก เพราะในช่วงที่เหลือของปีนี้จะมีอีกหลายสายการบิน เปิดให้บริการและเพิ่มจำนวนเที่ยวบินมากขึ้น และ UK + … Continue reading COVID-19 Progress/Policy update: Maldives, Hawaii

COVID-19 Herd immunity-2 “The Great Barrington Declaration”

Post นี้จะต่อเนื่องจาก เรื่อง COVID-19 Herd Immunity ที่เคยเขียนไว้ตอนแรก อย่างที่เราทราบกันว่า นโยบายที่เกี่ยวข้องกับ COVID-19 นั้นแบ่งเป็น 2 แนวทาง คือ ปิดบ้านปิดเมือง (Containment) จนกว่าจะมีวัคซีน กับเปิดหน้าสู้เพื่อรักษาเศรษฐกิจ และใช้มาตรการลดความรุนแรง (Mitigation) ซึ่งในช่วงต้นปี แทบจะทุกประเทศทั่วโลก ยอม lock-down เมือง เพื่อรักษาชีวิตผู้ป่วย แม้ว่าจะต้องจ่ายราคาที่สูงก็ตาม ดังคำที่ว่า “เจ็บ แต่ จบ” เพื่อหยุดโรคระบาดนี้ ทว่า หลังจากการ Lock-down ทั่วโลกในช่วงต้นปีที่ผ่านมา เรากลับได้เห็นกันแล้วว่า ราคาที่ต้องจ่ายนั้นมีสูงมากกว่าที่คาดไว้ ไม่ว่าจะในเรื่องของ เศรฐกิจ … Continue reading COVID-19 Herd immunity-2 “The Great Barrington Declaration”

South Africa re-opening of borders

ตอนนี้เราเห็นกันแต่ข่าวของฝั่ง EU UK และ US แต่จริงๆ มีอีกประเทศที่พึ่งเริ่มเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยวเมื่อวันที่ 1 ตค คือ South Africa ซึ่งมีการท่องเที่ยวเป็น 8.6% ของ GDP ท่านที่อ่าน post ของผมช่วงหลังๆ จะเห็นมีการพูดถึงเที่ยวบินตรงจาก หลายๆประเทศไปยัง South Africa ที่จะเริ่มในเดือน ตค เพราะสายการบินต่างๆ มีการเตรียมตัวล่วงหน้ากันไว้แล้ว มาตรการตอนนี้ยังทยอยประกาศออกมา แต่หลักการคือ ยังไม่รับนักท่องเที่ยวจาก รายชื่อประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่ประกาศโดยรัฐบาล ราว 60 ประเทศ จะต้องมีผลตรวจ COVID19 ด้วย RT-PCR เป็นลบ ไม่เกิน … Continue reading South Africa re-opening of borders

Iceland and tourism in COVID-19

หลังจาก ผมได้พาไปดู Maldives และ Sweden model แล้ว ยังมีอีกประเทศหนึ่งที่พึ่งพาการท่องเที่ยวพอๆกับไทย และมีมาตรการเปิดประเทศแบบจำกัดมาพักหนึ่งแล้วเช่นกัน ประเทศนั้นคือ Iceland ที่การท่องเที่ยวคิดเป็นราว 10% ของ GDP ซึ่ง พอๆ กับไทย ซึ่งจริงๆ เริ่มเปิดการเดินทางมาตั้งแต่ 15 มิย ที่ผ่านมาแล้ว การเข้าสู่ Iceland จะมีให้เลือกสองวิธีคือ 1. กักตัว 14 วัน 2. Double testing (คล้ายๆกับวิธีที่ UK กำลังทดสอบอยู่) ที่ต้องจ่ายเงินเอง 11000 ISK หรือราว … Continue reading Iceland and tourism in COVID-19

Maldives and tourism in COVID-19

ช่วงนี้มีการพูดถึงภูเก็ตโมเดล และความจำเป็นทีจะต้องเปิดรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ในอีกไม่นาน คำถามคือ จะเกิดอะไรขึ้น?จะระบาดหนักไหม? ใครจะมาเที่ยวในเวลาแบบนี้? มีกรณีศึกษาน่าสนใจของ Maldives ครับ ประเทศนี้พึ่งพิงการท่องเที่ยวกับ GDP ร่วม 30% หรือ เท่านึ่งของไทย จึงถูกสถานการณ์บังคับให้เปิดมาตั้งแต่วันที่ 15 กค กระบวนการคร่าวๆ คือ จะต้องมีการกรอกเอกสารเรื่องสุขภาพภายใน24 ก่อนการเดินทาง **ไม่บังคับตรวจ COVID19ทุกคน แต่จะตรวจเฉพาะคนที่มีอาการ **แน่นอนว่า จะมีการสุ่มตรวจเป็นระยะๆ แต่ไม่ได้ตรวจทุกราย(ตั้งแต่วันที่ 10 กย เป็นต้นไป ทักท่องเที่ยวจะต้องแสดงผลการตรวจ COVID19 ทีมีอายุไม่เกิน 72 เป็นลบ) **ไมต้องกักตัว 14 วัน หากไม่มีอาการ … Continue reading Maldives and tourism in COVID-19

Update ข่าวเกี่ยวข้องกับนโนบาย COVID19 น่าสนใจ 28/8/2020

Update รายงานเรืองนโนบาย COVID19 น่าสนใจ 28/8/2020 เมื่อวันที 27/8/2020 Poland เป็นประเทศล่าสุดiที่ลดระยะเวลากักตัวลงเหลือ 10 วัน Sweden GDP Q2 จริงออกมาที่ -8.3% เมื่อวันี 28/8/2020 ดีกว่า -8.6% ที่ประมาณไว้ก่อนหน้านี้ อัตราการเสียชีวิตต่อ 1 ล้านประชากร ของ Sweden อยู่นิ่งมานานเพราะแทบไม่มีผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นเลยมาหลายสัปดาห์ จนร่วงลงมาอยู่อันดับ 9 หลังจากอยู่อันดับ 8 มานานมาก มหาวิทยาลัย Oxford ออกรายงานเรื่องการเสียชีวิต การ admit เข้ารับการรักษาใน รพ และ … Continue reading Update ข่าวเกี่ยวข้องกับนโนบาย COVID19 น่าสนใจ 28/8/2020

COVID-19 งบประมาณและรายได้ภาษีของรัฐบาล

มีการพูดถึงเรื่องความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ เทียบกันระหว่างการเกิดการระบาด vs รายได้จากการเปิดท่องเที่ยว ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าสนใจ และเป็นที่พูดคุยกันอยู่ในหลายๆประเทศ แต่ส่วนตัวผมเห็นตัวเลขที่ทางกระทรวงการคลังประกาศแล้วมีประเด็นน่าสนใจ เลยขอยกมา post นี้ครับ (ส่วนตัวไม่เชี่ยวชาญนัก และดูแบบงูๆปลาๆ ดังนั้นโปรดอย่าเชื่อผมมาก 55) ตัวเลขงบประมาณของไทย 2563 อยู่ที่ 3.2 ล้านล้านบาท ตอนนี้คลังประเมินแล้วว่าการจัดเก็บรายได้ปี 2563 ที่จะเสร็จสิ้นเดือนนี้ อาจจะพลาดเป้าไปราว 100,000 ล้านบาท ในสิ้นเดือน สค นี้และ อาจจะถึง 400,000 ล้านในปี 2564 การเก็บภาษีสิ้นเดือนนี้ กระทบน้อย เพราะเก็บจากรายได้ปี 2562 ก่อน COVID19 แต่ปัญหาจะอยู่ที่ปีงบหน้าซึ่งตัวเลขภาษีที่พลาดเป้าอาจดูไม่เยอะเมื่อเทียบกับงบฯ..แต่… 3.2 … Continue reading COVID-19 งบประมาณและรายได้ภาษีของรัฐบาล

นโยบายด้านการเปิดประเทศใน COVID-19

ณ ตอนนี้ นโยบายด้าน COVID19 นั้นแทบจะแยกได้ 2 ค่ายหลักๆ ปิดสนิทจนกว่าจะมี Vaccineประเทศแนวนี้มักจะเป็นฝัง Asia เช่น ไต้หวัน ฮ่องกง ไทย เกาหลี ฯลฯด้วยแนวคิดว่า รักษาชีวิตคนก่อน จนกว่าจะมีวัคซีน ข้อดี**ส่วนใหญ่จะควบคุมการระบาดได้เบ็ดเสร็จ มีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตต่ำข้อเสีย มีตราบาปของผู้ป่วย COVID19 สูงมาก จนอาจโดนแบนจากสังคมได้เลย มีราคาที่ต้องจ่ายทางเศรษฐกิจสูงมากโดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพิงรายได้จากภายนอก เช่น นักท่องเที่ยว ธุรกิจต่างชาติ แทบจะพึ่งพิงความสำเร็จของการผลิตวัคซันเป็นหลัก หากวัคซีนออกมาไม่ได้ผล ใช้เวลานานกว่าที่คาด หรือ มีผลข้างเคียงมากเกินกว่าจะใช้ได้ แนวคิดนี้จะมีปัญหาทันที จุดอ่อนอีกอย่างที่สำคัญคือ การระบาดในประเทศ ซึ่งถ้าเกิดขึ้นมาจะมีปัญหาหนักทันที ทำให้ต้องทุ่มกำลังสาธารณสุขอย่างหนักในการควบคุม ดังนั้นแทบจะทุกประเทศที่ใช้นโยบายแบบนี้จะ serious … Continue reading นโยบายด้านการเปิดประเทศใน COVID-19